วันพุธที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2555

งานและพลังงาน


งาน (W) = แรง x ระยะทางตามแนวแรง

W = งาน มีหน่วยเป็นจูล J หรือนิวตัน - เมตร

F = แรง มีหน่วยเป็น นิวตัน
S = ระยะทาง มีหน่วยเป็น เมตร

= มุมที่อยู่ระหว่างแรง (F) กับระยะทาง (S)

กำลัง (Power)

กำลัง คือ งานที่ทำได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
P = กำลัง มีหน่วยเป็น วัตต์

W = งานที่ทำได้ มีหน่วยเป็น จูล
t = เวลาที่ใช้ มีหน่วยเป็น วินาที
พลังงาน (Energy)

พลังงานกล แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1. พลังงานจลน์ (k.E. - kinetic Energy) เป็นพลังงาน

ที่อยู่ในวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่

E= พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไปมีหน่วยเป็น จูล (ตอนปลาย -

ตอนต้น)
m = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม
v = ความเร็วของวัตถุ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที

2. พลังงานศักย์(P.E.) เป็นพลังงานที่สะสมอยู่ในวัตถุ

แบ่งเป็น

2.1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง (EP) มีขนาดเท่ากับงานที่

ใช้ในการเปลี่ยนตำแหน่งความสูงของวัตถุจากพื้นล่าง

EP = mgh
EP = พลังงานศักย์โน้มถ่วง มีหน่วยเป็นจูล

m = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็นกิโลกรัม
g = ค่าแรงโน้มถ่วง
h = ความสูงระยะห่างจากระดับอ้างอิง
มีหน่วยเป็นเมตร

2.2 พลังงานศักย์ยืดหยุ่น(EPเป็นพลังงานที่มีอยู่

ในวัตถุที่มีความยืดหยุ่น เช่น หนังยาง สปริง ฯลฯ
แรงยืดหยุ่น F = ks
F = แรงยืดหยุ่นสปริง
k = ค่าคงตัวของสปริง มีหน่วยเป็น นิวตัน/เมตร
s = ระยะยืดของสปริง มีหน่วยเป็น เมตร

EP = พลังงานศักย์ยืดหยุ่น มีหน่วยเป็น จูล

ทฤษฎีพลังงาน

งานทั้งหมด 
v = ความเร็วต้น

u = ความเร็วปลาย
หลักการของการทำงานของเครื่องกลทุกชนิด
งานที่ให้ = งานที่ได้รับ
รอก

F = แรงที่ออก

S = ระยะทางที่ออกแรง
m = มวลที่ยกได้
h = ระยะทางที่ยกได้
ล้อ และเพลา

งานที่ให้กับล้อ = งานที่ให้กับเพลา
F1S1 = F2S2